วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

คำศัพท์คณิตศาสตร์
- Circle คือ วงกลม
- Square คือ สี่เหลี่ยมจัตุรัส
- Triangle คือ สามเหลี่ยม      
- Rectangle คือ สี่เหลี่ยมผืนผ้า
- Pentagon คือ ห้าเหลี่ยม
- Hexagon คือ หกเหลี่ยม
- Oval คือ วงรี
- Cube คือ สี่เหลี่ยมลูกบาศก์
- Pyramid คือ สี่เหลี่ยมคางหมู
- Sphere คือ รูปทรงกลม
- Diamond คือ สี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด
- Cube คือ ลูกบาศก์
- Cone คือ กรวย
- perimeter คือ เส้นรอบวง
- Fraction คือ เศษส่วน
- Length คือ ความยาว
- Width คือ ความกว้าง
- Height คือ ความสูง
- Axis คือ แกน
- Angle คือ มุม
- Tangent คือ เส้นสัมผัส
- Axis of symmetry คือ แกนสมมาตร
- Real Number คือ จำนวนจริง                             
- Plus คือ บวก
- Minus คือ ลบ
- Multiply คือ คูณ
- Divide คือ หาร
- Equals คือ เท่ากับ
- Ratio คือ อัตราส่วน
- percentage คือ จำนวนร้อยละ
- Average คือ ค่าเฉลี่ย
- Decimal คือ ทศนิยม
- Prime number คือ จำนวนเฉพาะ
- Equation คือ สมการ
- Square คือ กำลังสอง
- Perfect square คือ กำลังสองสมบูรณ์
- Inverse variation คือ การแปรผกผัน
- Joint variation คือ การแปรผันเกี่ยวเนื่อง
- Direct variation คือ การแปรผันโดยตรง


วันจันทร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2558

บทที่ 4 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

4.1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

          ในชีวิตประจำวันเรามักพบ สิ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันอยู่เสมอ เช่น สินค้ากับราคาของสินค้า คนไทยทุกคนจะต้องมีเลขประจำตัวประชาชนเป็นของตนเอง ตัวอย่างที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างที่แสดงความสัมพันธ์ของสิ่งสองสิ่งที่เกี่ยว ข้องกันภายใต้กฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง สำหรับในวิชาคณิตศาสตร์มีสิ่งที่แสดงความสัมพันธ์ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ...อ่านเพิ่มเติม

4.2 ฟังก์ชันเชิงเส้น

          ฟังก์ชันเชิงเส้น ตัวแปรมีรูปทั่วไป คือ y = a1x1 + a2x2 + a3x3 + … + anxn  ซึ่งในระดับชั้นนี้เราจะพิจารณาฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป y = ax + b เมื่อ a, b เป็นจำนวนจริง และ  0 ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรง  ...อ่านเพิ่มเติม

4.3 ฟังก์ชันกำลังสอง

          ฟังก์ชันกำลังสอง คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ และ  0 ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันขึ้นอยู่กับค่าของ a, b และ cเมื่อ เป็นจำนวนบวกหรือจำนวนลบ จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ ...อ่านเพิ่มเติม

4.4 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล

         จากบทนิยามของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ฟังก์ชันนี้มีรูปแบบในรูปของเลขยกกำลัง โดยฐานของมันต้องมากกว่า และฐานต้องไม่เป็น ...อ่านเพิ่มเติม
  


4.5 ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์

          ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ที่อยู่ในรูป y = l x - a l + c เมื่อ และ เป็นจำนวนจริง ตัวอย่างที่ จงเขียนกราฟและหาโดเมนและเรนจ์ของ f(x) = l x  ...อ่านเพิ่มเติม

4.6 ฟังก์ชันขั้นบันได

          ฟังก์ชันขั้นบันได หมายถึง ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นสับเซตของจำนวนจริง และมีค่าของฟังก์ชันเป็นค่าคงตัวเป็นช่วงๆ มากกว่าสองช่วง กราฟของฟังก์ชันนี้มีลักษณะคล้ายขั้นบันได  ...อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 3 จำนวนจริง

3.1 จํานวนจริง

          มนุษย์รู้จักการใช้จำนวน มาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์โดยใช้ก้อนหินหรือใช้รอยบากบนต้นไม้แสดงจำนวนสัตว์ เลี้ยง กล่าวได้ว่าจำนวนชนิดแรกที่มนุษย์รู้จักคือจำนวนนับ ต่อมา ภายหลังเมื่อโลกมีการพัฒนามากขึ้น มนุษย์จึงพัฒนาจำนวนชนิดอื่นๆ ขึ้นมาเพื่อให้สามารถแทนปริมาณต่างๆ เช่น น้ำหนัก อุณหภูมิ จำนวนประชากรความยาวของเส้นรอบวงของโลก ฯลฯ จำนวนซึ่งสามารถแทนสิ่งเหล่านี้ได้ เรียกว่าจำนวนจริง เซตของจำนวนจริงประกอบด้วย  ...อ่านเพิ่มเติม

3.2 สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ

          สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ มีดังนี้

1. สมบัติปิด
2. สมบัติการสลับที่
3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม
4. สมบัติการมีเอกลักษณ์
5. สมบัติการมีอินเวอร์ส
6. สมบัติการแจกแจง  ...อ่านเพิ่มเติม

3.3 การนําสมบัติของจํานวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกําลังสอง

          สมการกำลังสอง หมายถึง สมการที่เขียนในรูป  ax2 + bx + c = 0   เมื่อ  a, b, c เป็นค่าคงตัว  และ  a  ไม่เท่ากับ  0 บทนิยามของสมการกำลังสอง ...อ่านเพิ่มเติม


3.4 การไม่เท่ากัน

          ในการเปรียบเทียบจำนวนสอง จำนวน นอกจากการเปรียบเทียบว่าเท่ากันหรือไม่เท่ากันแล้วยังมีการเปรียบเทียบว่า มากกว่าหรือน้อยกว่าได้โดยเขียนอยู่ในรูปประโยคสัญลักษณ์ ...อ่านเพิ่มเติม

3.5 ค่าสัมบูรณ์ของจํานวนจริง

          ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง (absolute value หรือ modulus) คือ ระยะทางที่จำนวนนั้นๆ อยู่ห่างจากศูนย์ (0) บนเส้นจำนวนไม่ว่าจะอยู่ทางซ้ายหรือทางขวาของศูนย์ ซึ่งค่าสัมบูรณ์ของจำนวนใด ๆ จะมีค่าเป็นบวกเสมอ ...อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 2 การให้เหตุผล

2.1 การให้เหตุผลแบบอุปนัย

          การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นวิธีการสรุปผลมาจากการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆ แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไปการหาข้อสรุปหรือความจริงโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัยนั้น  ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง  เนื่องจากการให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็นการ ...อ่านเพิ่มเติม

2.2 การให้เหตุผลแบบนิรนัย

          การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนด  ...อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 1 เซต

1.1 เซต

         เซต ใช้แทนกลุ่มของคน,สัตว์,สิ่งของ หรือสิ่งที่เราสนใจ เราใช้เครื่องหมายปีกกา“{ } ” แสดงความเป็นเซต และสิ่งที่อยู่ภายในปีกกา  เราเรียกสมาชิกของเซต...อ่านเพิ่มเติม


1.2 เอกภพสัมพัทธ์

          เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมดของสิ่งที่เราต้องการจะศึกษา สามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ ...อ่านเพิ่มเติม


1.3 สับเซตและเพาเวอร์เซต

          สับเซต (Subset) ถ้าสมาชิกทุกตัวของ เป็นสมาชิกของ แล้ว จะเรียกว่า Aเป็นสับเซตของ จะเขียนว่า
เซต เป็นสับเซตของเซต แทนด้วย 
 B ...อ่านเพิ่มเติม




1.4 ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต

          ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต เป็นส่วนหนึ่งของการกระทำระหว่างเซต เรานิยมเขียนออกมาในสองรูปแบบด้วยกันคือแบบสมการ และแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ ...อ่านเพิ่มเติม